Saturday, February 18, 2023

How to calculate hole size for tap drill?

 To calculate the correct hole size for a tap drill, you will need to know the size of the tap and the type of thread you want to create. Here are the general steps for calculating the correct hole size:


Determine the size and type of the tap you will be using. This information is typically listed on the tap itself or in the manufacturer's specifications.


Determine the type of thread you want to create. This will depend on the application and the type of fastener you will be using. The most common thread types are Unified National Coarse (UNC) and Unified National Fine (UNF).

Consult a tap drill size chart or use a tap drill size calculator. These resources will provide you with the recommended drill size for the tap and thread size you are using. You can find these resources online or in machining reference books.

Choose the drill bit size that is closest to the recommended size. It's generally better to choose a drill bit that is slightly smaller than the recommended size to ensure that the threads are tight and secure.

Drill the hole to the appropriate depth. The depth of the hole will depend on the length of the fastener and the thickness of the material you are drilling into. Make sure the hole is clean and free of debris before using the tap.

By following these steps and using the appropriate tools and resources, you can ensure that the hole size for your tap drill is accurate and appropriate for the specific application.

Tap and Die?

 Taps and dies are cutting tools used in the machining and manufacturing of threads on bolts, screws, and other threaded parts.

A tap is a cutting tool used to create internal threads, while a die is used to create external threads.

When a hole is drilled into a material, a tap is used to cut threads into the inside of the hole. The tap is screwed into the hole, cutting and forming the threads as it moves through the material. This creates an internal thread that can be used to attach screws, bolts, or other threaded parts.

When a rod or bolt needs to be threaded, a die is used to cut external threads onto the surface of the material. The die is fitted over the rod or bolt, and as it is turned, it cuts and forms the threads on the outside surface.

Taps and dies are commonly made of high-speed steel, and are available in a variety of sizes and shapes to accommodate different thread sizes and types. They are widely used in a variety of industries, including manufacturing, automotive, construction, and plumbing.

Proper use and maintenance of taps and dies is important for maintaining their effectiveness and longevity. This includes using the correct size and type of tool for the material being threaded, lubricating the tool during use, and properly cleaning and storing the tools when not in use.

Monday, September 21, 2015

การคำนวณขนาดรูเจาะสำหรับต๊าปเกลียวแบบง่าย

ในการต๊าปเกลียวจำเป็นที่จะต้องเจาะรูนำก่อน ซึ่งการเจาะรูขนาดที่ไม่เหมาะสมก็จะมีข้อดีข้อเสียต่างกัน เช่น
รูที่มีขนาดเล็กมากไป ทำให้ต๊าปเกลียวยาก ดอกต๊าปอาจหักได สันเกลียวคมล้มง่าย
ส่วนการเจาะรูที่ใหญ่เกินไปจะทำให้เกลียวตื้น เกลียวหลวม ยึดไม่แข็งแรง
การคำนวณขนาดรูก่อนต๊าปเกลียวได้ง่ายๆ ดังนี้

รูเจาะ = ขนาดต๊าป - ระยะพิช
M3 x 0.5
3 - 0.5 = 2.5
ดังนั้นรูเจาะคือ 0.5 มม

Sunday, August 30, 2015

ต๊าป (Tap)

มีหลายๆ คนที่รู้จัก "ต๊าป" และ "ดายส์" โดยเฉพาะคนที่อยู่ในอุตสาหกรรมเครื่องมือ, เครื่องจักรกล เช่น ช่างเทคนิค, ช่างทั่วไป หรืแม้กระทั่งช่างประจำบ้านที่ต้องมีการซ่อมแซมเครื่องใช้อยู่ประจำ. บล็อกนี้จะนำเสนอความรู้เกี่ยวกับ ต๊าป และ ดายส์ เทคนิคการใช้งานต่างๆ มาฝาก.





รูปด้านบนแสดงชิ้นส่วนที่มีการทำเกลียวนอกและเกลียวใน ชิ้นส่วนด้านซ้ายภายในรูมีการทำเกลียวซึ่งเราจะเรียกว่าเกลียวในเป็นผลผลิตที่เกิดจากกระบวนการ "ต๊าปเกลียว (Tapping)" ส่วนรูปด้านขวาเป็นผลผลิตที่เกิดจากกระบวนการ "ดายส์เกลียว (Dies)" ซึ่งในการผลิตในงานอุตสาหกรรมจริงๆ แล้ว อาจมีกระบวนการอื่นที่สามารถทำเกลียวนอกและเกลียวในได้อีก เช่น การกลึงเกลียวนอกและเกลียวใน, การรีดเกลียว เป็นต้น.


1.กระบวนการต๊าป (Tapping)

กระบวนการเป็นกระบวนการในการตัดเกลียวในจัดอยู่ในกลุ่มของเครื่องมือตัด เป็นการตัดเกลียวภายในรู วัสดุหรือชิ้นงานต้องมีการเจาะรูมาก่อนตามขนาดมาตรฐานสำหรับการต๊าปเกลียวแต่ละขนาด รูปด้านล่างแสดงการลักษณะของเกลียวในที่เกิดจากการต๊าป


กระบวนการต๊าปเกลียวสามารถทำได้ทั้งแบบต๊าปมือและต๊าปด้วยเครื่องจักร

1.1 การต๊าปมือ (Hand Tapping)

อุปกรณ์ที่ใช้ในการต๊าปมือประกอบด้วย

1) ดอกต๊าป (Tap)

ดอกต๊าปมือตามมตรฐานจะมีอยู่ 3 ดอก คือ


(1) Taper Tap : ลักษณะของดอกต๊าปจะมีส่วนที่เป็นเรียวตรงปลายความยาวประมาณ 8 - 10 เกลียว ช่วยในการควบคุมตำแหน่งความเที่ยวตรงของการต๊าป ซึ่งส่วนเรียวส่งนี้จะไปสัมผัสกับขอบของรูช่วยประคองดอกต๊าปในขณะที่ทำการต๊าป ทำให่การต๊าปทำได้ง่ายขึ้น ดอกต๊าปชนิดนี้เหมาะสำหรับใช้ในการตัดเกลียวในวัสดุที่มีความแข็งมาก เช่น Alloy และชิ้นงานที่ต้องการเกลียวขนาดเล็กซึ่งมีโอกาสสูงที่จะแตกหัก. ข้อเสียของดอกต๊าปแบบเรียวนี้ คือ หลังจากที่ต๊าปเกลียวแล้วหากช่วงของเกลียวที่ต้องการสั้นกว่าความยาวเกลียวของดอกต๊าปต้องใช้ดอกต๊าปดอกอื่นทำซ้ำอีกที และยังไม่เหมาะสำหรับการต๊าปรูที่ไม่ทะลุ เพราะได้ได้ความยาวเกลียวที่สั้นกว่าขนาดรูพอสมควร.

(2) Plug Tap : ลักษณะของดอกต๊าปจะคล้ายกับ Taper Tap แต่จะมีความยาวของช่วงที่เรียวน้อยกว่า โดยมีความยาวเรียวประมาณ 5 - 10 เกลียว หลายๆ ครั้งเราสามารถใช้ดอกต๊าปชนิดนี้แค่ดอกเดียวได้เลย เนื่องจากโครงสร้างตามรูปจะเห็นว่ามีช่วงเรียวช่วยในการประคองชิ้นงานและมีช่วงเกลียวที่ยาว เหมาะสำหรับงานที่เป็นรูเจาะทะลุหรือหากเป็นรูตันก็พอใช้ได้อาจจะมีช่วงปลายรูที่ไม่มีเกลียวเล็กน้อย

(3) Bottoming Tap : ดอกต๊าปชนิดนี้จะมีปลายเรียวเล็กน้อยเท่านั้นลักษณะเหมือน Chamfer เพื่อช่วยให้เข้าไปในชิ้นงานตอนเริ่มต้นต๊าปเกลียวได้มากขึ้นเท่านั้น ปลายเรียวนี้มีความยาวแค่ประมาณ 1 - 1.5 เกลียวเท่านั้น  ดอกต๊าปชนิดนี้เหมาะสำหรับรูที่ผ่านการต๊าปด้วยต้องต๊าปชนิดอื่นนำร่องมาก่อนแล้ว เนื่องจากส่วนปลายค่อนข้างที่จะควบคุมความเที่ยงตรงได้ยาก เพราะเมื่อต๊าปเริ่มตัดเกลียวเข้าไปในรูแล้ว หากไม่ตรงศูนย์กลางรูโอกาสที่ดอกต๊าปจะหักก็มีสูงมาก. ดอกต๊าปชนิดนี้เหมาะสำหรับทั้งรูทะลุและไม่ทะลุ

โดยส่วนมากแล้วในการต๊าปมือหากต้องการรูเกลียวที่มีความสมบูรณ์ควรจะใช้ดอกต๊าปทั้ง 3 ดอกเรียงตามลำดับที่กล่าวมา 

2) ด้ามต๊าป (Tap Shank)

เป็นอุปกรณ์ที่ใช้ในการจับยึดดอกต๊าปเพื่อทำการต๊าปเกลียว มีหลายแบบ ขึ้นอยู่กับลักษณะการใช้งาน

ตัวอย่างด้ามต๊าป






ตัวอย่างการต๊าปเกลียวมือ




Thank you for clip from 
https://www.youtube.com/watch?v=KVnN4jiB7Gk
















-